วันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2555


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16
วันอังคารที่ 25 กันยายน 2555   



- อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ  Tablet ลงในแผ่นกระดาษ และได้ให้นักษาร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันอีกครั้ง
- อาจารย์อบรมสั่งสอนเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
- อาจารย์บอกถึงแนวข้อสอบที่จะออก
- อาจารย์ตรวจบล๊อกเกอร์ของแต่ละคนว่าพบปัญหาหรือไม่ ?

                                                                           ปิดคอร์ด

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15
วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555   

- อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองานการจัดฐานกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม
- อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงข้อผิดพลาดเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
วันอังคารที่ 11 กันยายน 2555   

- วันนี้ไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม




วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555   

- อาจารย์ให้นักศึกษานำป้ายนิเทศที่ทำมาส่ง และร่วมกันเสนอความคิดเห็น เพื่อนำไปแก้ไขพัฒนาปรับปรุงต่อไป
- อาจารย์ให้ส่งสมุดวิธีการพับดอกไม้
- ตกลงเรื่องการไปจัดฐานวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม


















บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วันอังคารที่28 สิงหาคม 2555   

- ไม่มีการเรียนการสอน แต่จะทำการเรียนชดเชย

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วันอังคารที่21 สิงหาคม 2555  


เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ


   
เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
แนวคิด คือ แก่นเนื้อหาสาระที่ใช้เชื่อมโยงในสิ่งที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรมวิทยาศาสตร์
1.กิจกรรมใครใหญ่
แนวคิด : น้ำจะถูกแทนที่ด้วยขนาดของมือคร
ขั้นตอน
1.นำขวดน้ำใสวาง
2.เทน้ำลงไปในขวดครึ่งขวดและทำเครื่องหมายเอาไว้
3.ให้เด็กนำมือของตนเองมาหย่อนลงไปในน้ำทีละคน
4.ครูทำเครื่องหมายสรุปเอาไว้
5.ครูและเด็กช่วยกันสรุป
สรุปผล ระดับน้ำในขวดแล้วใสจะสูงขึ้นมากกว่าเดิมตามขนาดฝ่ามือของเด็ก

2.กิจกรรมใบไม้สร้างภาพ
แนวคิด : สีจากใบไม้สามรถสร้างภาพได้เหมือนจริง
ขั้นตอน
1.เด็กสังเกตุใบไม่ที่เก็บมา
2.นำกระดาษวาดเขียนมาพับเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
3.วางใบไม่ทีละใบระหว่างกระดาษวาดเขียนที่พับเอาไว้
4.ใช้ค้อนเคาะเบาๆ บริเวณที่มีใบไม้อยู่
5.เมื่อเปิดกระดาษออกให้เด็กช่วยหาเหตุผล
สรุปผล
1.น้ำสีจากใบไม่จะเป็นรูปร่างบนกระดาษ
2.โครงร่างที่ได้จะเหมือนใบไม้ทุกประการ
3.สีจากใบไม้เป็นสีธรรมชาติ เราจะนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง

3.กิจกรรมมาก่อนฝน
แนวคิด : น้ำเมื่อได้รับความร้อน บางส่วนจะกลายเป็นก๊าซ เรียก ไอน้ำ
ขั้นตอน
1.นำขวดแก้วที่แช่เย็นมาให้เด็กจับและถามความรู้สึก
2.เทน้ำอุ่นไว้ประมาณครึ่งขวด วางน้ำแข็งไว้บนปากขวด
3.เด็กสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้น
4.อาสาสมัครเป่าลมเข้าไปในขวดที่สอง
5.เมื่อหยุดเป่าลมจะเห็นกลุ่ม เมฆจางๆ
สรุปผล
1.เมฆจะก่อตัวขึ้นจากไอน้ำที่อยู่ในขวด ควบแน่นเพราะได้รับความเย็นจากน้ำแข็ง
2.กลุ่มเมฆจางๆ ในขวดเกอดจากอากาศในขวดขยายตัวและแผ่กระจาย
3.สภาพภายในขวดเย็นลง ดังนั้นไอน้ำจากลมหายใจจึงควบแน่นกลายเป็นไอเมฆหรือละอองน้ำ

4.กิจกรรมทำให้ร้อน
แนวคิด : แรงเสียดทานเป็นแรงพยายามซึ่งหยุดการลื่นไหล ไปบนสิ่งต่างๆ พลังงานจำเป็นต้องเอาชนะแรงเสียดทาน แรงเสียดทานนี้เป็นความร้อน
ขั้นตอน
1.ครูแจกดินสอและหนังสือใหเด็กคนละหนึ่งชุด
2.ให้เด็กจับดินสอด้วยมือที่ถนัด
3.นำดินสอมาถูกับสันหนังสือประมานสามวินาที
4.นำดินสอมาแตะกับผิวหนัง
5.เด็กบอกความรู้สึกจากการสัมผัส

สรุปผล
1.แรงเสียดทานหนังสือกับสันหนังสือทำให้เกิดความร้อน
2.นำส่วนที่ถูกับสันของหนังสือมาแตะที่ผิวหนังส่วนใดส่วนหนึงโดยเฉพาะริมฝีปากจะมีความรู้สึกว่าร้อน


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10
วันอังคารที่14 สิงหาคม 2555 

- ไม่มีการเรียนการสอน แต่จะทำการเรียนชดเชยในวันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน 2555


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9
วันอังคารที่ 7 สิงหาคม 2555

- ไม่มีการเรียนการสอน แต่จะทำการเรียนชดเชยในวันอาทิตย์ที่ 25 สิงหาคม 2555


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8
วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555

-ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นการสอบกลางภาค

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7
วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2555

เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ 



 - เรื่อง แหล่งการเรียนรู้

* การออกแบบแหล่งการเรียนรรู้

   1. มีการตั้งคำถาม
   2. การวาดรูป
   3. เล่าเรื่องต่อกันไป โดยเป็นพื้นฐานทางวรรณคดี
   4. การทำศิลปะ เช่น โมเดิล

* วิธีการที่เด็กได้เรียนรู้

   1. การนำของจริงมาให้เด็กดู ได้สัมผัสธ์ หรืออาจมีการจัดสภาพแวดล้อมร่วมกัน
   2. การนำรูปภาพ  หรือ VDO มาให้เด็กดู
   3. การพาเด็กไปทัศนศึกษา พาไปดูสถานที่จริง
   4. การพาผู้เชี่ยวชาญมาพูดคุยกัน
   5. การสาธิต หรือการทดลอง ให้เด็กได้ทำเอง

*  การสะท้อนกลับของเด็ก

   1. การเล่นเกม
   2. การจัดนิทรรศการ
   3. การเล่นบทบาทสมมุติ
   4. การแต่งเพลง แต่งนิทาน

งานที่มอบหมาย
  - ให้เขียนแผนตามหน่วยที่ตนเองได้รับ
  -  แบ่งกลุ่ม3กลุ่ม และคิดหาวิธีการนำเสนอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ในหน่วยที่ตนได้รับ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2555

เนื้อหาความรู้ที่ได้รับงานที่แก้ไข


- การเล่นเป็นการเรียนรู้ของเด็ก
- การเล่นเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตสำหรับเด็ก
- การเล่นที่ดีควรให้อิสระในการเล่นแก่เด็ก เพราะเด็กจะเล่นในสิ่งที่เขาสนใจจะเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง

การเล่นในวิทยาศาสตร์

- เล่นเกิดจากสังเกตุ ซึ่งเป็นพื้นฐานของวิทยาศาสตร์  โดยผ่านประสาทสัมผัสธ์ทั้ง5
- การเล่นจะมีกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ เป็นลำดับอย่างเห็นได้ชัด ต้องมีการทดลองจริง เห็นได้จริง
- การเล่นจะต้องมีการตั้งเกณฑ์ขึ้นมา เพื่อให้เป็นมาตราฐานที่แน่นอน และจะต้องตั้งเป็นเพียงเกณฑ์ เดียว ห้ามมากกว่านั้น เพราะจะเกิดความสับสน
- มีการใช้คำถาม ในการเล่นเพื่อให้เกิดความเข้าใจ


งานที่แก้ไข











งานมอบหมาย

- ให้เขียนประสบการณ์สำคัญของหน่วยที่ได้รับ

วันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2555

เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ


- ส่งงาน หน่วยการเรียนรู้ที่แก้ไข เรื่อง วันเข้าพรรษา
- สื่อวิทยาศาสตร์

กล่องกะเสียง 
กังหัน
งานที่ได้มอบหมาย
- แก้ไขของเล่นวิทยาศาสตร์ กังหัน


วันอังคารที่ 3 กรกฏาคม 2555

-วันนี้อาจารย์ได้เปิดวีดิโอเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำให้นักศึกษาดูแล้ววิเคราะห์ในห้องเรียน

น้ำเป็นสสารชนิดเดียวในโลกที่ปรากฏตามธรรมชาติพร้อมกันทั้ง 3  สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ  คุณสมบัติอันน่าทึ่งนี้ควบคู่ไปกับความสามารถอันใหญ่หลวงในการรับและถ่ายทอดพลังงานความร้อนของน้ำ ทำให้น้ำมีบทบาทสำคัญในการรักษาอุณหภูมิของบรรยากาศให้เหมาะสม และสร้างวงจรของน้ำขึ้นสำหรับสิ่งมีชีวิตต่างๆ 
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น น้ำจะดูดซับความร้อนเข้าไปมากขึ้น จนน้ำส่วนหนึ่งกลายเป็นไอ โดยน้ำ 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 10  องศาเซลเซียส จะระเหยกลายเป็นไอได้ต้องดึงความร้อนจากสิ่งแวดล้อมไปใช้ถึง 629 แคลอรี่ ทำให้สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ
เย็นลงได้
น้ำนั้นเป็นองคืประกอบสำคัญของมนุษย์เรา เมื่อคนเราเสียเหงื่อจากเหตุผลอะไรก็แล้วแต่จะทำให้ร่างกาย ของคนเรานั้น สูญเสียพลังงานในร่างกาย ทำให้เราอ่อนแรงได้ เพราะฉะนั้นคนเราจะต้องรับประทานน้ำอย่างต่ำวันละ 8 แก้ว ทดแทนการสูญเสียเหงื่อ

  • ทำให้ในร่างกายมีน้ำโดยประมาณ 70 %
  • ในผลไม้มีน้ำอยู่ดดยประมาณ 90 %
และอูฐสามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกินน้ำได้นานที่สุดประมาณ 10 วัน เพระอูฐนั้นสามารถเก็บไขมันที่อยู่ด้านหลังของมัน และไขมันนั้นสามารถน้ำมาเปลี่ยนแปลง เป็นน้ำหล่อเลี้ยงร่างกายของมันเอง




งานที่ได้รับมอบหมาย
-ให้นักศึกษาผลิตสื่อของเล่นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 2 คนต่อ 2ชิ้น  พร้อมวิธีทำเป็นขั้นตอน
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3
วันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2555

เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ


                     บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน 2555




          การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย  โดยแบ่งออกมาเป็น
  • เด็กปฐมวัย = ต้องรู้พัฒนาการของเด็ก 3ปี 4ปี 5ปี  ว่าเป็นอย่างไรเพื่อที่จะได้จัดประสบการณ์ให้เด็กได้อย่างถูกต้อง
          ในเรื่องนี้จะเน้นด้านสติปัญญา  ประกอบไปด้วย   ภาษา  การคิด(คิดแบบสร้างสรรค์กับคิดแบบเชิงเหตุผล)  คิดเชิงเหตุผล ประกอบด้วย คณิตสาสตร์ และวิทยาศาสตร์

           วิธีการเรียนรู้ = เด็กเลือกเล่นอย่างอิสระ
                                = การใช้ประสาทสัมผัสธ์ทั้ง5กระทำกับวัตถุ  (ตา  หู  จมูก  ลิ้น  กายสัมผัสธ์)
  • วิทยาศาสตร์= แบ่งออกเป็น  สาระ กับทักษะ
           สาระ - เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก   บุคคลสถานที่และสิ่งแวดล้อม  ธรรมชาติ  สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
           ทักษะ - สังเกต  จำแนก  การสื่อความหมาย  ลงความเห็นจากข้อมูล  การหาความสำคัญพื้นที่ ต่อพื้นที่  และพื้นที่กับเวลา

           ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - สังเกต  เปรียบเทียบ  การวัด  การสื่อสาร  การทดลอง  การสรุปและนำไปใช้
  • การจัดประสบการณ์  - ทฤษฎีการจัด   หลักการจัด  กระบวนการจัด  เทคนิคการจัด  สื่อสนุบสนุนในการจัด  การประเมินผล
งานที่ได้มอบหมาย
  • หาสติปัญญาด้านวิทยาศาสตร์ของเด็กอายุ4ขวบ
  • หาสิ่งที่จะสอนเด็กมา1อย่างและจับกลุ่ม4คน

วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


                     บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน 2555


- อาจารย์ไก้ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
- อาจารย์สั่งให้นักศึกษาไปทำ blogger ของรายวิชานี้
- อาจารย์ปล่อยก่อนเวลาเนื่องจากมีการประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาการศึกษาปฐมวัย